วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน (พื้นที่จังหวัดนราธิวาส)


วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้  ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗  ณ ห้องประชุม โรงงาน แฮนด์ อิน แฮนด์  อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส


สาระสำคัญ

๑. บทบาทหน้าที่ของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ
๑.๑ ด้านการบริหารจัดการโครงการ
๑.๒ ด้านกิจกรรมการอบรมให้กับพนักงาน
๑.๓ ด้านกิจกรรมการจัดประชุม
๒. คุณสมบัติของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ


๓. การดำเนินงานโครงการ
๓.๑ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมและเบี้ยประชุมคณะกรรมการฯ รวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง
๓.๒ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมระหว่างที่ปรึกษา ผู้ผลิตสินค้า เพื่อให้คำสั่งการผลิตเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีในการสนับสนุนให้มีคำสั่งการผลิตเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมเข้าร่วมประชุมด้วย
๓.๓ ที่ปรึกษาต้องจัดทำหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากร
๓.๔ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมความร่วมมือภาคชุมชน จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อแสดงออกถึงความร่วมมือของชุมชนและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และโรงงาน



































วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน (พื้นที่จังหวัดยะลา)


วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้  ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗  ณ ห้องประชุม โรงงาน แฮนด์ อิน แฮนด์  อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

 สาระสำคัญ

๑. บทบาทหน้าที่ของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ
๑.๑ ด้านการบริหารจัดการโครงการ
๑.๒ ด้านกิจกรรมการอบรมให้กับพนักงาน
๑.๓ ด้านกิจกรรมการจัดประชุม

๒. คุณสมบัติของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ


๓. การดำเนินงานโครงการ
๓.๑ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมและเบี้ยประชุมคณะกรรมการฯ รวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง
๓.๒ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมระหว่างที่ปรึกษา ผู้ผลิตสินค้า เพื่อให้คำสั่งการผลิตเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีในการสนับสนุนให้มีคำสั่งการผลิตเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมเข้าร่วมประชุมด้วย
๓.๓ ที่ปรึกษาต้องจัดทำหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากร
๓.๔ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมความร่วมมือภาคชุมชน จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อแสดงออกถึงความร่วมมือของชุมชนและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และโรงงาน





การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน (พื้นที่จังหวัดปัตตานี)


วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ การประชุม สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้  ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗  ณ ห้องประชุม โรงงาน แฮนด์ อิน แฮนด์ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

 สาระสำคัญ

๑. บทบาทหน้าที่ของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ
๑.๑ ด้านการบริหารจัดการโครงการ
๑.๒ ด้านกิจกรรมการอบรมให้กับพนักงาน
๑.๓ ด้านกิจกรรมการจัดประชุม

๒. คุณสมบัติของผู้จัดการโครงการและผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ

๓. การดำเนินงานโครงการ
๓.๑ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมและเบี้ยประชุมคณะกรรมการฯ รวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง
๓.๒ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีการประชุมระหว่างที่ปรึกษา ผู้ผลิตสินค้า เพื่อให้คำสั่งการผลิตเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีในการสนับสนุนให้มีคำสั่งการผลิตเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมเข้าร่วมประชุมด้วย
๓.๓ ที่ปรึกษาต้องจัดทำหลักสูตรเพื่อพัฒนาบุคลากร
๓.๔ ที่ปรึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมความร่วมมือภาคชุมชน จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อแสดงออกถึงความร่วมมือของชุมชนและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และโรงงาน


อบรมการบริหารจัดการธุรกิจสำหรับผู้บริหารสถานประกอบการ


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมมือกับสถานประกอบการในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้  จัดอบรมสำหรับผู้บริหาร เพื่อปรับปรุงการผลิต การจัดการ และการตลาด ในอุตสาหกรรมไม้ยางพารา ขับเคลื่อนโครงการอุตสาหกรรมเพื่อขจัดปัญหาความยากจน และมุ่งสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ณ ห้องประชุมโอบฟ้า ชั้น ๕ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


หัวข้อการอบรม

 1. การสื่อสารที่ดีสำหรับผู้บริหาร  
 วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แวอาซีซะห์  ดาหะยี

 2. การบริหารจัดการบุคคล
 วิทยากร ดร.สุชีพ พิริยสมิทธิ์

 3. การบริหารการผลิต
 วิทยากร ดร.ณรงค์ศักดิ์ จิตณรงค์รัตน์

 4. การบริหารการตลาด
 วิทยากร รองศาสตราจารย์ อัปสร อีซอ

 5. หลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์องค์กร
 วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แวอาซีซะห์  ดาหะยี

วันพุธที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

โครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทรัตน์ นามบุรี หัวหน้าโครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กับมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา บริษัทปริ้นเซสบรา จำกัด บริษัทไทย โกลบอล ดีไซน์ จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท อาร์เชอร์ สปอร์ต จำกัด และวิสาหกิจชุมชนแฮนอินแฮน อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส และอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี 

        จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะแรงงานใหม่ รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน - 20 กรกฎาคม 2557

       
โดยแผนการฝึกอบรม โครงการ Hand in Hand อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รุ่นที่ 1 จำนวน 50 คน โดยมีหัวข้อในการฝึกอบรม 2 หัวข้อ
        1. การฝึกอบรมขั้นตอนการเย็บเสื้อผ้ากีฬา   จำนวนผู้เข้าอบรม   25  คน
        2. การฝึกอบรมขั้นตอนการเย็บเสื้อโต้ป       จำนวนผู้เข้าอบรม   25  คน
ในการนี้ทีมงาน ที่ลงพื้นที่ Hand in Hand อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้ให้คำแนะนำถึงขั้นตอนการดำเนินงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการและติดตามอย่างไกล้ชิด         




   แผนการฝึกอบรม โครงการ Hand in Hand อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รุ่นที่ 1 จำนวน 50 คน โดยมีหัวข้อในการฝึกอบรม 2 หัวข้อ
        1. การฝึกอบรมขั้นตอนการเย็บเสื้อเชิ้ต   จำนวนผู้เข้าอบรม   40  คน
        2. การฝึกอบรมขั้นตอนการเย็บชุดชั้นในเด็กผู้หญิง       จำนวนผู้เข้าอบรม   10  คน

ในการนี้ทีมงาน ที่ลงพื้นที่ Hand in Hand อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ได้ให้คำแนะนำถึงขั้นตอนการดำเนินงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการและติดตามอย่างไกล้ชิด
               

 ในระหว่างการติดตามและแนะนำถึงขั้นตอนการดำเนินงานทีมงานที่ลงพิ้นที่ได้กล่าวถึงความห่วงใยที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทรัตน์ นามบุรี หัวหน้าโครงการโดยมีเจตนาในการขจัดปัญหาความยากจน และสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาครัฐและชุมชน ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม และประเด็นสำคัญ เพื่อกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ท้องถิ่นชนบท ลดการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่เมือง ให้ราษฎรมีรายได้ มีชีวิตความเป็นอยู่และสังคมที่ดีขึ้น โดยกำหนดพื้นที่เป้าหมาย 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี อำเภอรามัน จังหวัดยะลา และอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส